Mou หรือ Memorandum Of Understanding หมายถึง "บันทึกความเข้าใจ" เป็นรูปแบบการจัดทำหนังสือที่แสดงความประสงค์ของบุคคลหรือนิติบุคคลสองฝ่ายหรือมากกว่านั้น ที่จะทำความร่วมมือกัน โดยเต็มใจที่จะปฏิบัติตามเงื่อนไขที่ระบุ มีการวางแผน ทำกิจกรรมร่วมกันในภาพกว้าง โดยไม่ถือว่าเป็นสัญญาผูกมัดใดๆ (non-legally binding agreement) เนื่องจากไม่มีสภาพบังคับ หากไม่ปฏิบัติตาม เป็นเพียงการแสดงเจตนาที่แน่วแน่ของผู้ลงนามว่าจะปฏิบัติตามเนื้อหาที่ระบุไว้ใน MOU ซึ่งปกติใช้สำหรับความตกลงที่มีขอบเขตจำกัด หรือมิได้มีลักษณะเป็นการถาวรมักจะมีการเรียกชื่ออีกอย่างว่า "บันทึกความเข้าใจความร่วมมือ" เป็นหลักฐานยืนยันถึงการสนับสนุนการทำงานร่วมกัน การให้ความช่วยเหลือด้านทรัพยากร องค์ความรู้ และบุคลากร ระหว่างหน่วยงาน

  • บันทึกความเข้าใจว่าด้วยความร่วมมือด้านแรงงาน (MOU) และข้อตกลงด้าน
  • การจ้างแรงงาน (Agreement) ไทย - เมียนมา
  • กำหนดงานที่ห้ามคนต่างด้าวทำ
  • หลักการห้ามนายจ้างที่ประกอบกิจการรับเหมาแรงงานนำคนต่างด้าวเข้ามาทำงานตามบันทึกความตกลง
  • หรือบันทึกความเข้าใจที่รัฐบาลไทยทำไว้กับรัฐบาลต่างประเทศ (MOU)

  • ข้อดีของกลุ่มนำเข้าMOU

    ประหยัดต้นทุนค่าแรงงาน ได้แรงงานที่มีทักษะ ฝืมือแรงงานใกล้เคียงกับแรงงานไทยแรงงานต่างด้าวมีความอดทนสูงและทำงานยืดหยุ่นกว่าแรงงานไทย
    สัญญาจ้างงาน 2 ปี ต่อ 2 ปี เป็น 4 ปี สามารกดำเนินการต่ออายุ (Recontract) ได้อีกหลายรอบโดยดำเนินการแบบกลุ่มวน เพื่อเข้ามาใหม่ อีก 4 ปี จนกว่าแรงงานจะอายุครบ 55 ปี
    เอกสารประจำตัวครบถ้วน ดำเนินการง่ายกว่า ระบบการจ้างแรงงานต่างด้าวอื่นๆ
    การจ้างเสถียรกว่า มีอัตราการลาออก (Turn Over) ที่น้อยกว่าแรงงานไทยหรือกลุ่มต่างด้าวอื่นๆ (กลุ่มพิสูจน์สัญชาติ CI, บัตรชมพู)
    มีการคัดกรองคุณสมบัติตรงตามที่นายจ้างต้องการและมีการตรวจสอบประวัติ อาชญากรรม, คัดกรองคุณภาพก่อนเข้าทำงาน

    มีความมั่นคงในการจ้างงานตามสัญญาจ้างงาน


    เป็นระบบที่ดำเนินการได้ตลอดทั้งปี


    มีจำนวนแรงงาน ผู้สมัครงานเพียงพอ รองรับความต้องการได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ

    ปัจจุบันจำนวนประชากรแรงงานต่างด้าว ประจำเดือนมิถุนายน ปี 2567

    611705

    MOU (จำนวนคน)


    6 แสน 1 หมื่น

    2411576

    มติ (จำนวนคน)


    2 ล้าน 4 แสน

    306461

    อื่นๆ (จำนวนคน)


    3 แสน

    3329742

    รวมทั้งหมด (จำนวนคน)


    3 ล้าน 3 แสน

    กรณีเป็นแรงงานต่างด้าวถือบัตรสีชมพู และได้รับการพิสูจน์สัญชาติ

    เงื่อนไข : เปลี่ยนได้เมื่อออกจากนายจ้างเดิมโดยมิใช่ความผิดของตน อาทิ
  • ถูกเลิกจ้างโดยไม่มีเหตุผลอันควร เช่น นายจ้างขาดสภาพคล่อง ลดพนักงาน
  • นายจ้างเสียชีวิต เลิกกิจการ
  • นายจ้างทำร้ายร่างกาย / กระทำการทารุณลูกจ้าง
  • นายจ้างไม่จ่ายค่าจ้าง หรือไม่ปฏิบัติตามสัญญาจ้าง
  • ให้ลูกจ้างทำงานในสภาพอันตรายต่อชีวิตหรือสุขอนามัย
  • ทั้งนี้ แรงงานต่างด้าวต้องขออนุญาตทำงานกับนายจ้างใหม่ ภายใน 15 วัน นับจากออกจากนายจ้างเดิม

    กฎหมายเกี่ยวข้องกับแรงงานต่างด้าว

    ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี
    - กำหนดประเภทงานให้คนต่างด้าวตามมาตรา 13 (2) แห่งพระราชบัญญัติการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ. 2551 ทำได้ (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2559
    - กำหนดประเภทงานให้คนต่างด้าวตามมาตรา 13 (2) แห่งพระราชบัญญัติการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ. 2551 ทำได้ (ฉบับที่ 2)
    - กำหนดประเภทงานให้คนต่างด้าวตามมาตรา 13 (2) แห่งพระราชบัญญัติการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ. 2551 ทำได้
    - กำหนดประเภทงานให้คนต่างด้าวตามมาตรา 13 แห่งพระราชบัญญัติการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ. 2551 ทำได้
    - กำหนดประเภทงานให้คนต่างด้าวตามมาตรา 13 (2) แห่งพระราชบัญญัติการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ. 2551 ซึ่งเป็นผู้เสียหายจากการกระทำความผิดฐานค้ามนุษย์หรือพยานในความผิด
    ตามพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ. 2551 ทำได้
    - กำหนดประเภทงานที่คนต่างด้าวอาจขอรับใบอนุญาตเพื่อทำงานตามมาตรา 13 แห่งพระราชบัญญัติการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ.2551
    ประกาศกระทรวง
    - ประกาศกระทรวงมหาดไทยเรื่อง การอนุญาตให้คนต่างด้าวอยู่ในราชอาณาจักรเป็นการเฉพาะ สำหรับคนต่างด้าวสัญชาติกัมพูซา ลาว เมียนมา และเวียดนาม ซึ่งได้รับอนุญาตให้อยู่ในราชอาณาจักรเป็นการชั่วคราวถึงวันที่ ๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๖ ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ ๕ กรกฎาคม ๒๕๖๕ (ฉบับที่ ๓)
    - ประกาศกระทรวงมหาดไทยเรื่อง การยกเว้นข้อห้ามมิให้คนต่างด้าวเข้ามาอยู่ในราชอาณาจักรเป็นกรณีพิเศษเพื่อการทำงานสำหรับคนต่างด้าวสัญชาติกัมพูชา ลาว และเมียนมา ซึ่งได้รับอนุญาตให้เข้ามาทำงาน ในราชอาณาจักรตามบันทึกความตกลงหรือบันทึกความเข้าใจที่รัฐบาลไทยทำไว้กับรัฐบาลต่างประเทศ ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ ๓o พฤษภาคม ๒๕๖๖
    - ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง การอนุญาตให้คนต่างด้าวทำงานในราชอาณาจักรเป็นกรณีพิเศษ สำหรับคนต่างด้าวสัญชาติกัมพูชา ลาว และ เมียนมา ซึ่งได้รับอนุญาต ให้เข้ามาทำงานในราชอาณาจักรตามกฎหมายว่ด้วยคนเข้าเมือง ภายใต้บันทึกความตกลงหรือบันทึกความเข้าใจที่รัฐบาลไทยทำไว้กับรัฐบาลต่างประเทศ ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๖๖
    ประกาศกรมจัดหางาน
    - ประกาศกรมการจัดหางาน เรื่อง กำหนดแบบแจ้งการขยายระยะเวลาทำงานตามมาตรา 62 แห่งพระราชกำหนดการบริหารจัดการการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ. 2560 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
    - กำหนดสถานที่แจ้งการเข้ามาทำงานอันจำเป็นและเร่งด่วนที่มีระยะทำงานไม่เกิน 15 วัน
    - กำหนดระยะเวลายื่นคำขอรับใบอนุญาตทำงานและพิสูจน์สัญชาติสำหรับคนต่างด้าวหลบหนีเข้าเมืองสัญชาติพม่า ลาว และกัมพูชา ตามมติคณะรัฐมนตรีเมือวันที่ 12 มิถุนายน พ.ศ.2555
    - กำหนดระยะเวลาและสถานที่รับหนังสือแสดงความต้องการแรงงานต่างด้าว ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 15 มกราคม 2556
    - กำหนดระยะเวลาและสถานที่รับหนังสือแสดงความต้องการแรงงานต่างด้าว ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 15 มกราคม 2556 (ฉบับที่ 2)
    - กำหนดระยะเวลาและสถานที่รับหนังสือแสดงความต้องการแรงงานต่างด้าว ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 15 มกราคม 2556 (ฉบับที่ 3)
    - ขยายระยะเวลารับคำขอรับใบอนุญาตทำงาน สำหรับคนต่างด้าวหลบหนีเข้าเมืองสัญชาติเมียนมา ลาว และกัมพูชา ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 6 สิงหาคม 2556
    - การจัดระเบียบแรงงานต่างด้าวตามประกาศคณะรักษาความสงบแห่งชาติ
    - ประกาศกรมการจัดหางาน เรื่องกิจกรรมที่ไม่เข้าข่ายเป็นการทำงานตามพระราชบัญญัติการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ.2551
    - การรับรายงานตัวเพื่อจดทะเบียนประวัติ และขอรับใบอนุญาตทำงานของคนต่างด้าว สัญชาตพม่า ลาว และกัมพูชา ในกิจการประมงทะเล
    พระราชกฤษฎีกา
    - กำหนดให้คนต่างด้าวซึ่งปฏิบัติหน้าที่หรือภารกิจบางประการในราชอาณาจักร ไม่ต้องอยู่ภายใต้บังคับแห่งพระราชบัญญัติการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ.2521 พ.ศ.2522
    - กำหนดให้คนต่างด้าวซึ่งปฏิบัติหน้าที่หรือภารกิจบางประการในราชอาณาจักร ไม่ต้องอยู่ภายใต้บังคับแห่งพระราชบัญญัติการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ.2521 (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2528
    - กำหนดให้คนต่างด้าวซึ่งปฏิบัติหน้าที่หรือภารกิจบางประการในราชอาณาจักร ไม่ต้องอยู่ภายใต้บังคับแห่งพระราชบัญญัติการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ.2521 (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2548
    - กำหนดงานในอาชีพและวิชาชีพที่ห้ามคนต่างด้าวทำ พ.ศ.2522
    - กำหนดงานในอาชีพและวิชาชีพที่ห้ามคนต่างด้าวทำ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2536
    - กำหนดงานในอาชีพและวิชาชีพที่ห้ามคนต่างด้าวทำ (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2543
    - กำหนดงานในอาชีพและวิชาชีพที่ห้ามคนต่างด้าวทำ (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2548
    - ร่างคำนิยามอาชีพที่ห้ามคนต่างด้าวทำ
    ระเบียบกรมการจัดหางาน
    - ระเบียบกรมการจัดหางาน ว่าด้วยหลักเกณฑ์ในการพิจารณาจัดสรรจำนวนการจ้างคนต่างด้าว พ.ศ.2559
    - ระเบียบกรมการจัดหางาน ว่าด้วยหลักเกณฑ์ในการพิจารณาจัดสรรจำนวนการจ้างคนต่างด้าว (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2559
    - ระเบียบกรมการจัดหางาน ว่าด้วยหลักเกณฑ์การพิจารณาอนุญาตการทำงานของคนต่างด้าว (ฉบับที่ 3 ) พ.ศ. 2558
    - ระเบียบกรมการจัดหางาน ว่าด้วยการกำหนดระยะเวลาแล้วเสร็จของการพิจารณาอนุญาตการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ.2557
    - ระเบียบกรมการจัดหางาน ว่าด้วยหลักเกณฑ์การพิจารณาอนุญาตการทำงานของคนต่างด้าว(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2557
    - ระเบียบกรมการจัดหางาน ว่าด้วยหลักเกณฑ์การพิจารณาอนุญาตการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ.2552
    - ระเบียบกรมการจัดหางาน ว่าด้วยหลักเกณฑ์การจัดสรรจำนวนและพิจารณาอนุญาตการทำงานของคนต่างด้าวสัญชาติพม่า ลาว และกัมพูชา พ.ศ.2548
    - ระเบียบกรมการจัดหางาน ว่าด้วยหลักเกณฑ์การพิจารณาอนุญาตการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ.2547
    - ระเบียบกรมการจัดหางาน ว่าด้วยการรับแจ้งงานอันจำเป็นและเร่งด่วน พ.ศ.2546
    - ระเบียบกรมการจัดหางาน ว่าด้วยหลักเกณฑ์และเงือนไขในการพิจารณาอนุญาตการทำงานของคนต่างด้าว (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2546
    - ระเบียบกรมการจัดหางาน ว่าด้วยหลักเกณฑ์และเงือนไขในการพิจารณาอนุญาตการทำงานของคนต่างด้าว (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545
    - ระเบียบกรมการจัดหางาน ว่าด้วยหลักเกณฑ์และเงือนไขในการพิจารณาอนุญาตการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ.2545
    - ระเบียบกรมการจัดหางาน ว่าด้วยหลักเกณฑ์ในการพิจารณาคำขออนุญาตทำงานของคนต่างด้าว (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2542
    - ระเบียบกรมการจัดหางาน ว่าด้วยหลักเกณฑ์ในการพิจารณาคำขออนุญาตทำงานของคนต่างด้าว (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2541
    กฎกระทรวง
    - ยกเว้นค่าธรรมเนียมการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ.2559
    - ยกเว้นค่าธรรมเนียมการทํางานของคนต่างด้าว ซึ่งเป็นผู้เสียหายจากการกระทําความผิดฐานค้ามนุษย์หรือพยานในความผิด
    ตามพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ. 2551 พ.ศ. 2560
    - ว่าด้วยการขอรับใบอนุญาต การออกใบอนุญาต และการแจ้งการทำงานของคนต่างด้าว (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2560
    - ว่าด้วยการขอรับใบอนุญาต การออกใบอนุญาต และการแจ้งการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ.2554
    - กำหนดค่าธรรมเนียมและยกเว้นค่าธรรมเนียมการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ.2558
    - กำหนดระยะเวลาการหักเงินค่าจ้างเพื่อนำส่งเข้ากองทุนเพื่อการส่งคนต่างด้าวกลับออกไปนอกราชอาณาจักร พ.ศ.2558
    - ยกเว้นค่าธรรมเนียมการทำงานของคนต่างด้าวที่เป็นผู้เสียหายจากการกระทำความผิดฐานค้ามนุษย์ พ.ศ.2556
    - กำหนดลักษณะต้องห้ามของคนต่างด้าว ซึ่งจะขอรับใบอนุญาตทำงาน พ.ศ.2552
    - กฎกระทรวง กำหนดค่าธรรมเนียมการทำงานและการจ้างคนต่างด้าว พ.ศ.2552
    - กฎกระทรวง ฉบับที่ 10 (พ.ศ.2547) ออกตามความในพระราชบัญญัติการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ.2521
    - กฎกระทรวง ฉบับที่ 9 (พ.ศ.2544) ออกตามความในพระราชบัญญัติการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ.2521
    - กฎกระทรวง ฉบับที่ 8 (พ.ศ.2542) ออกตามความในพระราชบัญญัติการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ.2521
    - กฎกระทรวง ฉบับที่ 7 (พ.ศ.2539) ออกตามความในพระราชบัญญัติการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ.2521
    - กฎกระทรวง ฉบับที่ 6 (พ.ศ.2536) ออกตามความในพระราชบัญญัติการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ.2521
    - กฎกระทรวง ฉบับที่ 5 (พ.ศ.2530) ออกตามความในพระราชบัญญัติการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ.2521
    - กฎกระทรวง ฉบับที่ 4 (พ.ศ.2529) ออกตามความในพระราชบัญญัติการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ.2521
    - กฎกระทรวง ฉบับที่ 3 (พ.ศ.2527) ออกตามความในพระราชบัญญัติการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ.2521
    - กฎกระทรวง ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2522) ออกตามความในพระราชบัญญัติการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ.2521
    - กฎกระทรวง (พ.ศ.2522) ออกตามความในพระราชบัญญัติการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ.2521
    - กฎกระทรวง กำหนดค่าธรรมเนียมการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ.2545
    - กฎกระทรวง กำหนดค่าธรรมเนียมการทำงานของคนต่างด้าว (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2547

    ใช้แรงงานต่างด้าว ถูกกฎหมาย สบายใจทั้งนายจ้างและลูกจ้าง

    เห็นงานของนายจ้าง เสมือนหนึ่งงานของเราจะสามารถนำมาซึ่งความพึงพอใจทั้งต่อนายจ้างและแรงงานอย่างแท้จริง